• 055 531 113
  • [email protected]
  • facebook
Search
  • Home
  • မြှို့နယ်သိရန်ရယူပါ
    • ယေဘုယျသတင်းအချက်အလက်
    • သင်္ကေတ
    • မြူနီစီပယ်အဆင့်အတန်းပြောင်းလဲမှုကြေညာချက်
    • အမှုဆောင်ကောင်စီ၊
    • โครงสร้างส่วนราชการ
    • ဝန်ထမ်းရေးရာလမ်းညွှန်
      • စီမံခန့်ခွဲမှုအဖွဲ့
      • Deputy Municipality
      • หัวหน้าส่วนราชการ
      • หัวหน้าฝ่าย
      • အုပ်ချုပ်မှုဟောင်း
    • สภาเทศบาลนครแม่สอด
      • โครงสร้างสภาเทศบาลนครแม่สอด
      • အစည်းအဝေးမှတ်တမ်း
      • กิจกรรมงานสภาเทศบาลนครแม่สอด
      • รายงานการประชุมสภาเทศบาลนครแม่สอด
    • အခန်းကဏ္။
    • လူ ဦး ရေနှင့်အိမ်ထောင်စုစာရင်းဇယား
    • မျှော်မှန်းချက်နှင့်ဖွံ့ဖြိုးတိုးတက်မှု
      • မျှော်မှန်းချက်
      • แผนพัฒนาเทศบาล
        • ၅ နှစ်ဖွံ့ဖြိုးတိုးတက်မှုအစီအစဉ်
        • แผนพัฒนาท้องถิ่น 4 ปี
        • แผนพัฒนาท้องถิ่น 3 ปี
        • รายงานติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา
      • แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ
      • เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
      • งบแสดงฐานะการเงิน
      • คู่มือการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น ของเทศบาลนครแม่สอด
      • คู่มือและแนวทางการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากเทศบาลนครแม่สอด
      • คู่มือการปฏิบัติงานการโอนเงินและเปลี่ยนแปลงคำชี้แจงงบประมาณประจำปี เทศบาลนครแม่สอด
      • แผนบริหารจัดการความเสี่ยง(RISK MANAGEMENT) เทศบาลนครแม่สอด
      • รายงานการปฏิบัติงานตามนโยบายนายกเทศมนตรีนครแม่สอด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
    • တွဲဖက်ကျောင်း
    • ရပ်ကွက် ၂၀
  • သတင်းစကား
    • Highlight Maesot
    • ဝယ်ယူရေး
      • แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุ
      • ความก้าวหน้าการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ ประจำปี
      • รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี
      • รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้าง (แบบ สขร.1)
      • สรุปผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างและจัดซื้อพัสดุประจำปี
      • รายงานแสดงผลการดำเนินงานประจำปี
    • ပြည်သူ့ဆက်ဆံရေး
    • အလုပ်အကိုင်သတင်း
    • သတင်း / လှုပ်ရှားမှု
    • E Book วารสารเทศบาลนครแม่สอด
    • DRIVE MAESOT
    • ပြည်နယ်အတွင်းရှိစိတ်ဝင်စားဖွယ်သတင်း
    • ဗွီဒီယို
    • ဆုများ
  • အဖွဲ့အစည်း
    • กองการเจ้าหน้าที่
    • สำนักปลัดเทศบาล
      • Prevention and mitigation of disaster
      • งานทะเบียนราษฎร
    • กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
    • กองช่างสุขาภิบาล
    • กองคลัง
    • กองสวัสดิการสังคม
    • กองช่าง
    • กองยุทธศาสตร์และงบประมาณ
    • กองการศึกษา
    • หน่วยงานตรวจสอบภายใน
  • ข้อมูลบริการ
    • လူ့စွမ်းအားအရင်းအမြစ်စီမံခန့်ခွဲမှုနှင့်ဖွံ့ဖြိုးတိုးတက်မှု
    • ศูนย์บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จ เทศบาลนครแม่สอด
    • ဝန်ဆောင်မှု
      • รายงานข้อมูลสถิติการให้บริการประชาชน ประจำปี พ.ศ.2567
      • ข้อมูลสถิติการให้บริการ ประจำปี พ.ศ.2566
      • ข้อมูลสถิติการให้บริการ ประจำปี พ.ศ.2565
      • คู่มือหรือมาตราฐานการให้บริการ ประจำปี พ.ศ.2564
      • ข้อมูลสถิติการให้บริการ ประจำปี พ.ศ.2564
      • รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ ประจำปี พ.ศ.2564
      • ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ ประจำปี พ.ศ.2563
      • รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ ประจำปี พ.ศ.2563
      • ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ ประจำปี พ.ศ.2562
      • รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ ประจำปี พ.ศ.2562
    • กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
    • คู่มือหรือแนวทางการให้บริการสำหรับผู้มารับบริการหรือผู้มาติดต่อ
    • စစ်ဆင်ရေးလက်စွဲ
    • การป้องกันการทุจริตในหน่วยงาน
      • လိမ်လည်မှုကာကွယ်တားဆီးရေးအစီအစဉ်
      • လိမ်လည်မှုတားဆီးရေးအစီအမံ
      • လိမ်လည်မှုအန္တရာယ်စီမံခန့်ခွဲရန်လုပ်ဆောင်ချက်များ
        • เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร ประจำปี พ.ศ.2562
        • การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ประจำปี พ.ศ.2562
        • การประเมินความเสี่ยงเพื่อการป้องกันการทุจริต ประจำปี พ.ศ.2562
        • เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร ประจำปี พ.ศ.2563
        • การประเมินความเสี่ยงเพื่อการป้องกันการทุจริต ประจำปี พ.ศ.2563
        • เจตจำนงในการบริหารงานของเทศบาลนครแม่สอด ปี 2564
        • การประเมินความเสี่ยงเพื่อการป้องกันการทุจริต ประจำปี พ.ศ.2564
        • การประเมินความเสี่ยงการทุจริต ประจำปี 2565
        • การประเมินความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปี 2566
        • การประเมินความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปี 2567
        • การประเมินความเสี่ยงที่อาจเกิดการให้หรือรับสินบน ประจำปี 2568
      • တိုင်ကြားချက်စာရင်းဇယား
    • การส่งเสริมความโปร่งใส
      • การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
    • ITA
    • ผลการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Local Performance Assessment : LPA)
  • Tourist service
  • ဒေါင်းလုပ်
    • အကြံပြုစာပမြေား
    • รายงานการประชุมสภาเทศบาลนครแม่สอด
  • Contact US
    • Contact US
    • Site Map
    • ร้องเรียนทุจริต
    • แบบสำรวจการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาในเมืองพิเศษ"นครแม่สอด"
    • Webboard
  • Home
  • မြှို့နယ်သိရန်ရယူပါ
    • ယေဘုယျသတင်းအချက်အလက်
    • သင်္ကေတ
    • မြူနီစီပယ်အဆင့်အတန်းပြောင်းလဲမှုကြေညာချက်
    • အမှုဆောင်ကောင်စီ၊
    • โครงสร้างส่วนราชการ
    • ဝန်ထမ်းရေးရာလမ်းညွှန်
      • စီမံခန့်ခွဲမှုအဖွဲ့
      • Deputy Municipality
      • หัวหน้าส่วนราชการ
      • หัวหน้าฝ่าย
      • အုပ်ချုပ်မှုဟောင်း
    • สภาเทศบาลนครแม่สอด
      • โครงสร้างสภาเทศบาลนครแม่สอด
      • အစည်းအဝေးမှတ်တမ်း
      • กิจกรรมงานสภาเทศบาลนครแม่สอด
      • รายงานการประชุมสภาเทศบาลนครแม่สอด
    • အခန်းကဏ္။
    • လူ ဦး ရေနှင့်အိမ်ထောင်စုစာရင်းဇယား
    • မျှော်မှန်းချက်နှင့်ဖွံ့ဖြိုးတိုးတက်မှု
      • မျှော်မှန်းချက်
      • แผนพัฒนาเทศบาล
        • ၅ နှစ်ဖွံ့ဖြိုးတိုးတက်မှုအစီအစဉ်
        • แผนพัฒนาท้องถิ่น 4 ปี
        • แผนพัฒนาท้องถิ่น 3 ปี
        • รายงานติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา
      • แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ
      • เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
      • งบแสดงฐานะการเงิน
      • คู่มือการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น ของเทศบาลนครแม่สอด
      • คู่มือและแนวทางการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากเทศบาลนครแม่สอด
      • คู่มือการปฏิบัติงานการโอนเงินและเปลี่ยนแปลงคำชี้แจงงบประมาณประจำปี เทศบาลนครแม่สอด
      • แผนบริหารจัดการความเสี่ยง(RISK MANAGEMENT) เทศบาลนครแม่สอด
      • รายงานการปฏิบัติงานตามนโยบายนายกเทศมนตรีนครแม่สอด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
    • တွဲဖက်ကျောင်း
    • ရပ်ကွက် ၂၀
  • သတင်းစကား
    • Highlight Maesot
    • ဝယ်ယူရေး
      • แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุ
      • ความก้าวหน้าการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ ประจำปี
      • รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี
      • รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้าง (แบบ สขร.1)
      • สรุปผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างและจัดซื้อพัสดุประจำปี
      • รายงานแสดงผลการดำเนินงานประจำปี
    • ပြည်သူ့ဆက်ဆံရေး
    • အလုပ်အကိုင်သတင်း
    • သတင်း / လှုပ်ရှားမှု
    • E Book วารสารเทศบาลนครแม่สอด
    • DRIVE MAESOT
    • ပြည်နယ်အတွင်းရှိစိတ်ဝင်စားဖွယ်သတင်း
    • ဗွီဒီယို
    • ဆုများ
  • အဖွဲ့အစည်း
    • กองการเจ้าหน้าที่
    • สำนักปลัดเทศบาล
      • Prevention and mitigation of disaster
      • งานทะเบียนราษฎร
    • กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
    • กองช่างสุขาภิบาล
    • กองคลัง
    • กองสวัสดิการสังคม
    • กองช่าง
    • กองยุทธศาสตร์และงบประมาณ
    • กองการศึกษา
    • หน่วยงานตรวจสอบภายใน
  • ข้อมูลบริการ
    • လူ့စွမ်းအားအရင်းအမြစ်စီမံခန့်ခွဲမှုနှင့်ဖွံ့ဖြိုးတိုးတက်မှု
    • ศูนย์บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จ เทศบาลนครแม่สอด
    • ဝန်ဆောင်မှု
      • รายงานข้อมูลสถิติการให้บริการประชาชน ประจำปี พ.ศ.2567
      • ข้อมูลสถิติการให้บริการ ประจำปี พ.ศ.2566
      • ข้อมูลสถิติการให้บริการ ประจำปี พ.ศ.2565
      • คู่มือหรือมาตราฐานการให้บริการ ประจำปี พ.ศ.2564
      • ข้อมูลสถิติการให้บริการ ประจำปี พ.ศ.2564
      • รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ ประจำปี พ.ศ.2564
      • ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ ประจำปี พ.ศ.2563
      • รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ ประจำปี พ.ศ.2563
      • ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ ประจำปี พ.ศ.2562
      • รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ ประจำปี พ.ศ.2562
    • กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
    • คู่มือหรือแนวทางการให้บริการสำหรับผู้มารับบริการหรือผู้มาติดต่อ
    • စစ်ဆင်ရေးလက်စွဲ
    • การป้องกันการทุจริตในหน่วยงาน
      • လိမ်လည်မှုကာကွယ်တားဆီးရေးအစီအစဉ်
      • လိမ်လည်မှုတားဆီးရေးအစီအမံ
      • လိမ်လည်မှုအန္တရာယ်စီမံခန့်ခွဲရန်လုပ်ဆောင်ချက်များ
        • เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร ประจำปี พ.ศ.2562
        • การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร ประจำปี พ.ศ.2562
        • การประเมินความเสี่ยงเพื่อการป้องกันการทุจริต ประจำปี พ.ศ.2562
        • เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร ประจำปี พ.ศ.2563
        • การประเมินความเสี่ยงเพื่อการป้องกันการทุจริต ประจำปี พ.ศ.2563
        • เจตจำนงในการบริหารงานของเทศบาลนครแม่สอด ปี 2564
        • การประเมินความเสี่ยงเพื่อการป้องกันการทุจริต ประจำปี พ.ศ.2564
        • การประเมินความเสี่ยงการทุจริต ประจำปี 2565
        • การประเมินความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปี 2566
        • การประเมินความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปี 2567
        • การประเมินความเสี่ยงที่อาจเกิดการให้หรือรับสินบน ประจำปี 2568
      • တိုင်ကြားချက်စာရင်းဇယား
    • การส่งเสริมความโปร่งใส
      • การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม
    • ITA
    • ผลการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Local Performance Assessment : LPA)
  • Tourist service
  • ဒေါင်းလုပ်
    • အကြံပြုစာပမြေား
    • รายงานการประชุมสภาเทศบาลนครแม่สอด
  • Contact US
    • Contact US
    • Site Map
    • ร้องเรียนทุจริต
    • แบบสำรวจการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาในเมืองพิเศษ"นครแม่สอด"
    • Webboard
  • အမျိုးအစားများ: DRIVE MAESOT

โครงการ DRIVE MAESOT

  • where: topcoms topcoms
  • 18 Jun 2020
  • 4368 ကြိမ်

โครงการ DRIVE MAESOT

โครงการจัดตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด
เพื่อการจัดทำแผนยุทธศาสตร์เมืองและนำไปสู่การผลักดันและขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติ

 

  1. ที่มาและความสำคัญ

          เนื่องด้วยสถาบันพระปกเกล้าและเทศบาลนครแม่สอด ดำเนินการความร่วมมือเพื่อดำเนินโครงการเพื่อพัฒนากลไกการบริหารจัดการเชิงพื้นที่อย่างบูรณาการและมีประสิทธิผล (The new integrated-effective area-based management) ที่ได้รับการสนับสนุนจากองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศแห่งญี่ปุ่น (Japan International Cooperation Agency: JICA) และ National Graduate Institute for Policy Studies (GRIPS) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนากลไกการบริหารจัดการเชิงพื้นที่อย่างบูรณาการและมีประสิทธิผลในฐานะกลไกการบริหารจัดการเชิงพื้นที่รูปแบบใหม่ของการบริหารงานภาครัฐไทย 2) นำร่องทดลองใช้กลไกการบริหารจัดการเชิงพื้นที่อย่างบูรณาการและมีประสิทธิผล และ 3) ร่างหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างความรู้การบริหารจัดการเชิงพื้นที่อย่างบูรณาการและมีประสิทธิผลให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียนั้น

          ภายใต้การดำเนินการดังกล่าว ได้มีการสำรวจแนวโน้ม ทิศทาง นโยบายในการพัฒนาพื้นที่ ทั้งที่เป็นโครงการความร่วมมือ/กรอบความตกลงในระดับประเทศ อันได้แก่ โครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (Greater Mekong Sub-region: GMS) กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดน (ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Goods in Transit) ปฏิญญาพุกาม (BAGAN Declaration) หรือกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี- เจ้าพระยา-แม่โขง (Ayeyawady - Chao Phraya – Mekong Economic Corporation Strategy: ACMECS) ข้อตกลงภายใต้องค์การการค้าโลก (WTO: World Trade Organization) เป็นต้น กรอบนโยบายส่งเสริมเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ข้อกฎหมาย ระเบียบต่าง ๆ ในพื้นที่ อาทิ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. 2556 และนโยบายส่งเสริมเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ โดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ประกอบกับการนำแนวคิด/แนวทางการจัดระบบบริหารจัดการที่เอื้อต่อการสร้างศักยภาพของพื้นที่ ซึ่งเป็นการรวบรวมแนวทางในการพัฒนาพื้นที่ที่ปรากฎในต่างประเทศ มาเป็นกรอบในการวิเคราะห์หลัก

          จากนั้น คณะนักวิจัยได้ดำเนินการระบุผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด โดยให้ความสำคัญกับภาคเอกชน รวมไปถึงภาคประชาสังคม และส่วนราชการในพื้นที่ ดังที่ปรากฎตารางต่อไปนี้

กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด

ภาคเอกชน/ประชาสังคม

ส่วนราชการ

1. หอการค้าจังหวัดตาก

1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่

2. สภาอุตสาหกรรมจังหวัดตาก

2. หน่วยงานด้านแรงงาน

3. ผู้ประกอบการโรงแรมในพื้นที่

3. ศุลกากรแม่สอด

4. ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมรายย่อยในพื้นที่

4. ตรวจคนเข้าเมืองแม่สอด

5. ผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยว

5. หน่วยงานด้านความมั่นคง

6. ผู้ประกอบการด้านการส่งออก นำเข้า

6. หน่วยงานปกครอง/นายอำเภอ

7. ผู้ประกอบการด้านค้าปลีก

7. หน่วยงานส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่

8. ผู้ประกอบการด้านการค้าวัสดุก่อสร้าง

8. โรงพยาบาลแม่สอด

 

          ทั้งนี้ ในการระบุผู้มีส่วนได้ส่วนเสียนั้น คณะนักวิจัยได้ดำเนินการจัดประชุมหารือรับฟังความเห็น ข้อเสนอแนะเพื่อวิเคราะห์สภาพปัญหาในพื้นที่ พบว่า สิ่งที่ขาดหายไปในกระบวนการผลักดันให้พื้นที่สามารถพัฒนาไปสู่การเป็นพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษแม่สอดได้นั้น ก็คือ “หน่วยงานที่จะเป็นหน่วยเชื่อมต่อระหว่างแนวนโยบายจากส่วนกลาง และสามารถรายงานสภาวะ สภาพปัญหา รวมถึงตัดสินใจเบ็ดเสร็จในพื้นที่ได้อย่างทันท่วงที” และการที่เขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด ไม่มีการศึกษาถึงศักยภาพในการพัฒนาเมือง และทิศทาง/เป้าหมายปลายทางที่ควรจะเป็นของพื้นที่ที่ชัดเจน ทั้งที่ในพื้นที่มีกลไกการดำเนินงาน ได้แก่ คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ซึ่งประกอบไปด้วยผู้แทนจากหน่วยงานในพื้นที่ และภาคเอกชน จำนวน 68 คน โดยแบ่งเป็น 5 คณะ ประกอบด้วย
                (1) คณะทำงานด้านสิทธิประโยชน์ การตลาด และการประชาสัมพันธ์
                (2) คณะทำงานด้านแรงงาน สาธารณสุข และความมั่นคง
                (3) คณะทำงานด้านโครงสร้างพื้นฐานและด่านศุลกากร
                (4) คณะทำงานด้านการจัดหาที่ดินและบริหารจัดการ  
                (5) คณะทำงานด้านการพัฒนากำลังคน และส่งเสริมคุณภาพชีวิต
          มีอำนาจหน้าที่ชัดเจนแยกตามคณะทำงานแต่ละด้าน มีรองผู้ว่าราชการจังหวัดตาก 2 ท่าน ทั้งด้านความมั่นคง และด้านเศรษฐกิจและสังคม เป็นหัวหน้าคณะทำงาน แต่กระนั้น การพัฒนาพื้นที่ก็ยังคงประสบปัญหา ซึ่งสามารถสรุปได้ดังนี้    

ประเด็นปัญหา

การบริหารในพื้นที่

- ขาดอำนาจเบ็ดเสร็จในการบริหารเขตเศรษฐกิจพิเศษ
- ขาดการบูรณาการระหว่างหน่วยงานภาครัฐ
- หน่วยงานภาครัฐขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษ ทำให้ขาดความพร้อมทุกด้าน ทั้งงบประมาณ และบุคลากร
- การบริหารงานขาดความต่อเนื่อง

การวางแผนและการบริหารจัดการพื้นที่

- ชุมชนในพื้นที่ได้รับผลกระทบจากนโยบายที่กำหนดให้เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษตาก
- ราคาที่ดินมีมูลค่าการซื้อขายเกินราคาประเมินเนื่องจากการเก็งกำไร
- ที่ดินที่มีเอกสารสิทธิในเขตเศรษฐกิจพิเศษมีน้อย เมื่อเทียบกับพื้นที่ทั้งหมด
- การใช้ที่ดินของรัฐเพื่อพัฒนาสาธารณูปโภคไม่มีแนวทางที่ชัดเจนแน่นอน
- การขับเคลื่อนในปัจจุบัน มุ่งเน้นเฉพาะในพื้นที่อำเภอแม่สอด ส่วนอำเภอพบพระ และอำเภอแม่ระมาดไม่ได้รับความสำคัญเท่าที่ควร

ระเบียบ/กฎหมาย

- กระบวนการต่าง ๆ ภายใต้กฎระเบียบของทางราชการมีความซับซ้อนยุ่งยากเช่นเดิม

การเกษตร

- มีตลาดรองรับน้อย
- ผลผลิตทางการเกษตรยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐาน เช่น ระบบการผลิตสินค้าเกษตร หรือ GAP หรือมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เป็นต้น
- ขาดสถานที่เก็บผลผลิตของส่วนรวม หรือภาครัฐ

การจัดการแรงงาน

- เมื่อแรงงานต่างด้าวลงทะเบียนเข้าสู่ระบบ และทำบัตรแล้ว มักจะออกนอกพื้นที่ เคลื่อนย้ายเข้าสู่พื้นที่ชั้นใน กลายเป็นแรงงานที่กระทำผิดกฎหมาย ทำให้เกิดความเสี่ยงกับผู้ประกอบการและนักลงทุน และทำให้ขาดแคลนแรงงานในพื้นที่
- การเคลื่อนไหวแรงงานตลอดเวลา ส่งผลกระทบต่อภาวการณ์ด้านเศรษฐกิจ ทำให้เกิดการว่างงาน และการชะลอการลงทุน นอกจากนี้ ยังมีการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีการผลิต ต้นทุนการผลิต และฤดูกาล ทำให้เกิดการจ้างงานราคาถูก โดยเฉพาะแรงงานต่างด้าวที่เข้ามาทำงานโดยผิดกฎหมาย เป็นแรงงานไร้ฝีมือ คุณภาพงานต่ำ
- จำนวนแรงงานต่างด้าวที่เพิ่มมากขึ้นทำให้ภาระงานด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคตามแนวชายแดนเพิ่มขึ้น จำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนบุคลากร เครื่องมือ และระบบการบริหารจัดการที่ดี

สิทธิประโยชน์

- เขตเศรษฐกิจพิเศษตาก ยังไม่สะท้อนถึงความพิเศษในการพัฒนาทางเศรษฐกิจ เนื่องจากขาดความชัดเจนด้านสิทธิประโยชน์
- กลุ่มอุตสาหกรรมเก่าในพื้นที่ไม่ได้รับสิทธิประโยชน์

การมีส่วนร่วม

- ขาดการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ทั้งก่อนและหลังการกำหนดพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก
- การรับรู้ข้อมูลข่าวสารและการมีส่วนร่วมของชุมชนมีน้อย
- ขาดการประสานความร่วมมือที่ดี ระหว่างองค์กรภาครัฐกับภาคเอกชน และระหว่างภาคเอกชนกับภาคเอกชน 

ทำให้ในเบื้องต้นต้องมีการดำเนินการผลักดันให้เกิดหน่วยดังกล่าวขึ้น ภายใต้ชื่อ “ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด” เพื่อให้มีบทบาทในการสนับสนุนแนวทางการพัฒนาดังกล่าวได้ต่อไป

  1. เป้าหมายและผลผลิตจากการดำเนินงาน
    ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษเมืองแม่สอด เพื่อการจัดทำแผนยุทธศาสตร์พื้นที่และนำไปสู่การผลักดันและขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติ
  1. ระยะเวลาการดำเนินงาน
     ให้ดำเนินงานตั้งแต่เดือนสิงหาคม – พฤศจิกายน พ.ศ.2561
  1. แผนการดำเนินงานโครงการจัดตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาเมืองแม่สอด เพื่อการจัดทำแผนยุทธศาสตร์เมืองและนำไปสู่การผลักดันและขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติ
    แผนการดำเนินงานประกอบด้วย 3 ขั้นตอนที่สามารถดำเนินการพร้อมกัน ดังนี้1Xการตั้งคณะทำงานเพื่อการจัดตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาเมืองแม่สอด เพื่อการจัดทำแผนยุทธศาสตร์เมืองและนำไปสู่การผลักดันและขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติ ในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด จังหวัดตาก

          1.) การตั้งคณะทำงานมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดพื้นที่สำหรับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นได้เข้ามามีส่วนร่วมในการนำเสนอความเห็นต่อศักยภาพ ทิศทาง เป้าหมาย รวมไปถึงองค์ประกอบที่ต้องดำเนินการผลักดันให้พื้นที่มีศักยภาพในการพัฒนาอย่างแท้จริง ทั้งนี้ หน่วยที่ทำหน้าที่ขับเคลื่อนหลักในช่วงแรกจึงควรเป็นหน่วยงานด้านวิชาการ ซึ่งได้แก่ สถาบันพระปกเกล้า
               การทำงานของคณะทำงานฯ ควรนำเอาทุกภาคส่วนมาทำงานและให้ความเห็น ได้แก่ 1) ฝ่ายเทศบาลนครแม่สอด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ 2) ฝ่ายวิชาการ ได้แก่ สถาบันพระปกเกล้า 3) ฝ่ายภาครัฐในพื้นที่ 4) ฝ่ายนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญ 5) ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม
          การกำหนดองค์ประกอบของคณะทำงาน ประกอบด้วย

  •       โครงสร้างองค์การ
  •       องค์ประกอบและคุณสมบัติของ คณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ ควรครอบคลุมทั้งภาครัฐ เอกชน ท้องถิ่น วิชาการ ชุมชน ประชาสังคม
  •       กำหนดภารกิจหน้าที่ เช่น การรวบรวมฐานข้อมูลในเชิงพื้นที่ นโยบายการพัฒนาในและนอกพื้นที่ เป็นกลไกปรึกษาหารือให้กับจังหวัด กบจ. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ฯลฯ
  •       กลไกบริหารจัดการ/แนวทางการดำเนินงาน
  •       แหล่งทุน ทรัพยากร สถานที่จัดตั้งสำนักงาน และบุคลากร ฯลฯ

          นำเสนอและพิจารณารายชื่อ "คณะกรรมการบริหารศูนย์ศึกษาเพื่อการพัฒนาเมือง" จากทั้งภาครัฐ เอกชน วิชาการ ท้องถิ่น ชุมชน และประชาสังคม
          จัดประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย์ศึกษาเพื่อการพัฒนาเมือง เพื่อแบ่งบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ โดยผู้ว่าราชการจังหวัด ลงคำสั่งแต่งตั้ง “คณะกรรมการบริหารศูนย์ศึกษาเพื่อการพัฒนาเมือง” ที่ได้รับการพิจารณาสรรหาและคัดเลือก และให้ถือว่าเป็นกลไกหนึ่งในการบริหารงานเชิงยุทธศาสตร์ของจังหวัด 

          2) การดำเนินงานศูนย์ศึกษาเพื่อการพัฒนาเมือง กำหนดกรอบแนวทางการดำเนินงานของศูนย์ฯ ได้แก่
              (2.1) สร้างพื้นที่สนทนาใหม่ ๆ เพื่อสรุปความเห็น แนวโน้ม ทิศทาง เป้าหมายของพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอดที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
              (2.2) แนวทางการรวบรวม/พัฒนาระบบฐานข้อมูล และชุดข้อมูลที่จำเป็นต่อการจัดวางยุทธศาสตร์การพัฒนาเมือง
              (2.3) แนวทางศึกษา วิจัย และพัฒนาข้อเสนอการพัฒนาเมืองที่เหมาะสมกับพื้นที่
              (2.4) แนวทางการจัดเวทีประชุมรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder)
              (2.5) ผลักดันแนวทางการพัฒนาพื้นที่เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมต่อการเข้ามาของนโยบายจากส่วนกลาง นักลงทุนจากทั้งในและต่างประเทศ 

          3) การนำเสนอข้อมูล ผลการศึกษา และทางเลือกต่างๆ สอบถามความคิดเห็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และประชาชน เพื่อสร้าง “ฉันทามติร่วมกัน” และจัดทำร่างแผนยุทธศาสตร์พัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนย่อย ได้แก่
              1) การจัดประชุมรับฟังความคิดเห็น และข้อเสนอแนะได้ผ่านกลไกเดิม หรือสร้างกลไกใหม่เพิ่มเติม คือ กลไกเดิม เช่น เวทีประขาคมท้องถิ่น เวทีประชาคมของส่วนราชการต่าง ๆ ที่มีอยู่เดิม และกลไกใหม่ เช่น การสร้างเวทีประชาคมเพื่อการพัฒนาเมืองขึ้นใหม่เป็นการเฉพาะ การนำเสนอโดยหน่วยงาน/องค์กรที่มีประสบการณ์ในการผลักดันพื้นที่ เช่น KKTT
              2) ศูนย์ฯ นำข้อมูลที่ได้จากการประชุมในขั้นตอนย่อยที่ 1) มาพัฒนาตามความเหมาะสม และนำมาจัดทำ “ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด”
              3) นำร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมือง ข้อมูล และข้อคิดเห็นต่าง ๆ เข้าสู่ที่ประชุมคณะกรรมการบริหารแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมือง คณะกรรมการร่วมภาครัฐและและเอกชนเพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ (กรอ.) จังหวัด คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก และคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (กบจ.) ตามลำดับ


  • Tags:
  • โครงการ DRIVE MAESOT

အကြောင်းအရာပါသောရုပ်ပုံ





DRIVE MAESOT အခြားသူများနဲ့ဆက်စပ်မှု

ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวจัดซื้อ-จัดจ้าง
7 Oct 2024
เปลี่ยนแปลงแผนการจัดซื้อจัดจ้าง ปีงบประมาณ 2568
ဝက်ဘ်ဆိုက် visit ည့်သည်စာရင်းဇယား
  • Active 40 people
  • ဒီကနေ့လာရောက်လည်ပတ်သူ 4,108 people
  • visitors ည့်သည်အားလုံး 35,557,417 people

၀ က်ဘ်ဆိုက်စာရင်းအင်းအားလုံးကိုကြည့်ဖို့ကိုနှိပ်ပါ
  • 99/99 Asia Road, Tambol Maesot, Amphur Maesot, Tak 63110
  • 055 531 113
  • [email protected]

မူပိုင်ခွင့်အားလုံးကိုရယူထားပြီ။ © 2025 เทศบาลนครแม่สอด
Make a website by khontamweb.com ™

Links

  • ဝဘ်ဆိုက်အုပ်ချုပ်ရေးမှူး
  • Sitemap
  • ကျွန်ုပ်တို့ကိုဆက်သွယ်ပါ
  • Choose Language:

Social Network

เทศบาลนครแม่สอด